ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต

 RED 7316 หัวข้อพิเศษทางนวัตกรรมการบริหารการศึกษา

แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต

นักศึกษาปริญญาโท นวัตกรรมการบริหารการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วันเสาร์ที่  12  มีนาคม 2564 เวลา 9.00-16.00 น.

(พัก 15 นาที 10.30-10.45 น.)

(พักรับประทานอาหารกลางวัน   12.00-13.00 น.)

(พัก 15 นาที 14.40-14.55 น.)

**** ช่วงบ่ายเลือกปัญหาในการบริหารการศึกษา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และแนวโน้มในอนาคต)  *****

แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต (10 คะแนน) 

- กำหนดให้นักศึกษาทุกท่านเลือกปัญหาของการบริหารการศึกษา  1 เรื่อง  ส่งใน Chat

- เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของการบริหารการศึกษา

- เสนอนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของผู้บริหาร

- เสนอแนวโน้มในอนาคต ว่าปัญหาจะคงอยู่  จะลดลง หรือจะหมดไป 

ให้ส่งเป็นไฟล์เอกสาร ระบุชื่อ-นามสกุล จำนวน 5 หน้ากระดาษ A4

----------------------------------------------------------------------------------------

วิทยากร  ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข |
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ  คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม   
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun.n@fte.kmutnb.ac.th; prachyanun@hotmail.com 
http://www.prachyanun.com  , 081-7037515 prachyanunn@gmail.com  Line ID prachyanun

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

มทร.รัตนโกสินทร์   ศาลายา  นายเดชดนัย เลี่ยนแก้ว นางสาวชลลดา ชมศิริ  นางสาวพัชรินทร์  กลุ่มสุริวงค์*

นายอุดมศักดิ์  ผานัด  น.ส.ภัทรภร   วันชูเพลา

มทร.รัตนโกสินทร์  วข.ไกลกังวล   นายอนิรุทธิ์ มิ่งแม้นx  นายรัฐกิจ ศรีนวลx  นางสาวจุธารัตน์  สีนาค นางสาวธัญมาศ นิยมญาติ* 

นายธัชฏ์พงศ์   โชตินันท์โภคินx นางณัฐวราพร  หลอดแก้วx  นางสาวสุชาดา  บัวบาง*  นายนิรุตต์ รุ่งเรืองx นางสาวกรกมลวรรณ คงมิตรx 

นางสาวณรพร เรืองรองx นางสาวจุรีพร  บุญพรัดx นายกรีธา นามทิพย์  นางสาวนุชนารถ  แสนเกื้อ นายเอกราช ล้อแก้วx นางสาวรัชนก มีชูขันธ์x

นายสนิท มิตพันธ์x นางสาวจิตรี ประจวบศิลป์* นางสาวรัตติกาล  แนบน่วม* นางสาวกนกวรรณ  ภูฆังx นายธาวิน เรืองวิเศษx

(คุมสอบ O-NET 10 คน) 



 



ความคิดเห็น

  1. ประเด็นปัญหา
    การผลิตและพัฒนาครู

    ตอบลบ
  2. ปัญหาการจัดการเอกสาร

    ตอบลบ
  3. ประเด็นการจัดสรรทรัพยากรบุคคลในโรงเรียน​ นายกรีธา​ นามทิพย์​ 2631090471312​

    ตอบลบ
  4. ปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน

    ตอบลบ
  5. การแก้ปัญหา ภาระงานครู นางสาวสุชาดา บัวบาง 2631090471307 เทียบโอนวังไกลกังวล

    ตอบลบ
  6. ส่งเมล์งานใก้อาจารย์แล้วนะคะ ชลลดา ชมศิริ 1631090471302 เทียบโอนศาลายา

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การจัดการเรียนการสอนวิชาสารสนเทศศาสตร์ในประเทศไทย

  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสังเคราะห์หลักสูตรระดับปริญญาตรีที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสารสนเทศในประเทศไทยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร (Content Analysis) จากหลักสูตร เว็บไซต์ และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ซึ่งผลการวิจัยมี 3 ข้อดังนี้ 1) หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีในประเทศไทย มีทั้งหมด 34 หลักสูตร   ใช้ชื่อที่แตกต่างกัน 9 สาขาวิชา แบ่งเป็นกลุ่มสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ จำนวน 9 หลักสูตร  กลุ่มสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ จำนวน 19 หลักสูตร และกลุ่มสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ  จำนวน 6 หลักสูตร ส่วนมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนจำแนกเป็น  มหาวิทยาลัยของรัฐที่เปิดสอนมี 8 แห่ง  มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่เปิดสอนมี 7 แห่ง  มหาวิทยาลัยราชภัฏที่เปิดสอนมี 16 แห่ง และมหาวิทยาลัยเอกชนที่เปิดสอนมี 3 แห่ง  2) โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสารสนเทศ ส่วนใหญ่กำหนดจำนวนหน่วยกิตวิชาบังคับตั้งแต่ 31-46 หน่วยกิต (ร้อยละ 52.94)  และกำหนดจำนวนหน่วยกิตวิชาเลือกตั้งแต่ 22-32 หน่วยกิต (ร้...

Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective

  Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective Traxler, John Research in Learning Technology , v26 2018 This paper is the first attempt to explore digital literacy in the specific context of the Palestinian refugee community in the Middle East by looking at the cultural specificity of digital literacy theorising and practice, by analysing current digital education policy in the countries hosting the Palestinian refugee community and by documenting the digital environment of the Palestinian refugee. It identifies the distance or deficit between the community's current access to digital literacy education, appropriately defined, and its digital environment, needs and opportunities. Finally, the paper provides a brief agenda for further empirical research. Descriptors:  Technological Literacy ,  Refugees ,  Foreign Countries ,  Educational Policy ,  Theory Practice Relationship ,  Technology Education ,  Information Technology ,  Semitic ...