ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2021

แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต

 RED 7316 หัวข้อพิเศษทางนวัตกรรมการบริหารการศึกษา แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต นักศึกษาปริญญาโท นวัตกรรมการบริหารการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วันเสาร์ที่  12  มีนาคม 2564 เวลา 9.00-16.00 น. (พัก 15 นาที 10.30-10.45 น.) (พักรับประทานอาหารกลางวัน   12.00-13.00 น.) (พัก 15 นาที 14.40-14.55 น.) **** ช่วงบ่ายเลือกปัญหาในการบริหารการศึกษา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และแนวโน้มในอนาคต)  ***** แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต (10 คะแนน)  - กำหนดให้นักศึกษาทุกท่านเลือกปัญหาของการบริหารการศึกษา  1 เรื่อง  ส่งใน Chat - เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของการบริหารการศึกษา - เสนอนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของผู้บริหาร - เสนอแนวโน้มในอนาคต ว่าปัญหาจะคงอยู่  จะลดลง หรือจะหมดไป  ให้ส่งเป็นไฟล์เอกสาร ระบุชื่อ-นามสกุล จำนวน 5 หน้ากระดาษ A4 ---------------------------------------------------------------------------------------- วิทยากร  ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข | ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ

Digital Literacy การรู้ดิจิทัล

 Digital Literacy การรู้ดิจิทัล

Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective

  Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective Traxler, John Research in Learning Technology , v26 2018 This paper is the first attempt to explore digital literacy in the specific context of the Palestinian refugee community in the Middle East by looking at the cultural specificity of digital literacy theorising and practice, by analysing current digital education policy in the countries hosting the Palestinian refugee community and by documenting the digital environment of the Palestinian refugee. It identifies the distance or deficit between the community's current access to digital literacy education, appropriately defined, and its digital environment, needs and opportunities. Finally, the paper provides a brief agenda for further empirical research. Descriptors:  Technological Literacy ,  Refugees ,  Foreign Countries ,  Educational Policy ,  Theory Practice Relationship ,  Technology Education ,  Information Technology ,  Semitic Languages ,  Arabs ,  Muslims ,  Islamic

Digital Literacy of Future Preschool Teachers

  Digital Literacy of Future Preschool Teachers Anisimova, Ellina Sergeevna Journal of Social Studies Education Research , v11 n1 p230-253 2020 The basics of digital literacy begin to form at an early age, and as they grow older, digital literacy must continue to evolve, adapting to the rapidly changing digital world. The first (both in importance and in time) after the family cognitive social institution for most people is the educational system, or rather, the system of preschool education. The problem of increasing the digital literacy of preschool teachers, their willingness to use information technology in educational activities is clearly relevant. Studies have shown an insufficiently high level of digital literacy of future teachers. The goal of this work is to strengthen the digital literacy component in preparing future preschool educators. The authors of the article conducted an experimental study on the introduction of a new program of study of the discipline "Informati

การจัดการเรียนการสอนวิชาสารสนเทศศาสตร์ในประเทศไทย

  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสังเคราะห์หลักสูตรระดับปริญญาตรีที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสารสนเทศในประเทศไทยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร (Content Analysis) จากหลักสูตร เว็บไซต์ และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ซึ่งผลการวิจัยมี 3 ข้อดังนี้ 1) หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีในประเทศไทย มีทั้งหมด 34 หลักสูตร   ใช้ชื่อที่แตกต่างกัน 9 สาขาวิชา แบ่งเป็นกลุ่มสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ จำนวน 9 หลักสูตร  กลุ่มสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ จำนวน 19 หลักสูตร และกลุ่มสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ  จำนวน 6 หลักสูตร ส่วนมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนจำแนกเป็น  มหาวิทยาลัยของรัฐที่เปิดสอนมี 8 แห่ง  มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่เปิดสอนมี 7 แห่ง  มหาวิทยาลัยราชภัฏที่เปิดสอนมี 16 แห่ง และมหาวิทยาลัยเอกชนที่เปิดสอนมี 3 แห่ง  2) โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสารสนเทศ ส่วนใหญ่กำหนดจำนวนหน่วยกิตวิชาบังคับตั้งแต่ 31-46 หน่วยกิต (ร้อยละ 52.94)  และกำหนดจำนวนหน่วยกิตวิชาเลือกตั้งแต่ 22-32 หน่วยกิต (ร้อยละ 29.41) 3) รายวิชาในหลักสูตรที่เกิดจากการสังเ

รูปแบบการจัดการเรียนรู้สําหรับผู้สูงอายุประเทศไทย เพื่อการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  บทคัดย่อ (Abstract) การวิจัยเรื่องรูปแบบการจัดการเรียนรู้สําหรับผู้สูงอายุประเทศไทยเพื่อการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาและสํารวจขีดความสามารถการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับผู้สูงอายุไทย 2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้สําหรับผู้สูงอายุประเทศไทยเพื่อการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ 3) ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้สําหรับผู้สูงอายุประเทศไทยเพื่อการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การดําเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สํารวจขีดความสามารถการรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 1) ผู้สูงอายุที่ใช้แอปพลิเคชันไลน์ (LINE) เป็นประจําทุกวัน จาก 10 จังหวัด ที่มีอัตราการใช้อินเทอร์เน็ตสําหรับผู้สูงอายุสูงสุดในประเทศ ไทย จํานวน 400 คน (การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย) 2) ผู้สูงอายุที่ใช้แอปพลิเคชันไลน์ (LINE) เป็นประจําทุกวัน จาก 10 จังหวัด ที่มีอัตราการใช้อินเทอร์เน็ตสําหรับผู้สูงอายุสูงสุดในประเทศไทย จํานวน 15 คน (การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย) 3) ผู้สูงอายุและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข

การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การจัดการสารสนเทศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

  Title การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การจัดการสารสนเทศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Title Alternative The development of web-base instruction on information management for grade 7 students Creator Name:   อุทุมพร พันธ์หนอย Organization :  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี Subject keyword:  การเรียนการสอนผ่านเว็บ ThaSH:   การจัดระเบียบสารสนเทศ  --  การเรียนการสอนผ่านเว็บ ThaSH:   โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์วิทยา.  --  การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) ;   Web-based instruction ThaSH:   Information organization  --  Web-based instruction Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การจัดการสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์วิทยา จำนวน

Blogger นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

Blogger  นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7 https://suchanyapam.blogspot.com https://manidatukta 2524. blogspot.com https://sanjitaklayprayong.blogspot.com https://kruweerayut 01. blogspot.com https://pongthepniyomthai.blogspot.com https://noorfadilah 2534. blogspot.com https://kanoktip 2536. blogspot.com https://supannee-suna.blogspot.com https://chaitobuddee.blogspot.com https://teerapongsuksomsong.blogspot.com https://witsarut-benz 238. blogspot.com https://phakornkiat.blogspot.com https://nitid-hengchoochip.blogspot.com https://chonthichadeebucha.blogspot.com https://nopparataunprasert.blogspot.com https://chaichaofa.blogspot.com https://voraponbabyboss.blogspot.com https://chenchira 2021. blogspot.com https://nattidadechakkanat.blogspot.com https://khunmuangchukorn.blogspot.com https://anupong 12 tu.blogspot.com https://sutthananabangchang.blogspot.com https://sattawatsurisan.blogspot.com https://thanchanokluarnkrew.blogspot.com https://supa