ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

Determining Generic Teacher Competencies: A Measurable and Observable Teacher Competency Framework

  Determining Generic Teacher Competencies: A Measurable and Observable Teacher Competency Framework Alan, Bülent ;  Güven, Meral International Journal of Psychology and Educational Studies , v9 n2 p308-331 2022 Well-defined teacher competencies can serve as a reference resource for teacher candidates and a road map for teachers who need to equip themselves with new competencies to meet the rapidly changing demands of children and society. This study, which grounded on mixed methods research, aimed to develop a measurable and observable generic teacher competency framework. The study was conducted in three phases. The initial phase was comprised of the literature review on teacher competencies, interviews with teacher candidates, teacher trainers, and education experts on the current teacher competency framework developed by the Turkish Ministry of Education in 2017. The analyses revealed the need for a new framework since the current competency framework does not allow self-evaluation
โพสต์ล่าสุด

การเสริมสร้างสมรรถนะเฉพาะทางของครูช่างสาขาอุตสาหกรรมศึกษาโดยใช้การเรียนรู้โครงงานเป็นฐานแบบ DAPOA ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

  บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้นำเสนอการเสริมสร้างสมรรถนะเฉพาะทางของครูช่างสาขาอุตสาหกรรมศึกษาโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้โครงงานเป็นฐานแบบ DAPOA ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การจัดการเรียนการสอนมีการบูรณาการวิธีการสอนทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติโดยใช้รูปแบบของโครงงานเป็นฐานแบบ DAPOA ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอนการเรียนรู้ ได้แก่ 1) ขั้นการกำหนดหัวข้อ 2) ขั้นการวิเคราะห์ 3) ขั้นการวางแผนและออกแบบ 4) ขั้นการดำเนินงาน และ 5) ขั้นการประเมินผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา จำนวน 20 คน ประจำปีการศึกษา 2561-2562 หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี การวัดและประเมินผลด้านสมรรถนะของผู้เรียนใช้การวิเคราะห์ทักษะการปฏิบัติงานทั้งในชั้นเรียนและผลการประเมินจากสถานศึกษา ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้โครงงานเป็นฐาน DAPOA มีความเหมาะสมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก นักศึกษาฝึกสอนสาขาอุตสาหกรรมศึกษามีสมรรถนะของครูช่างอุตสาหกรรมทั้งด้านความรู้และปฏิบัติการหลังจากการผ่านการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และมีผลสัมฤทธิ์ทางด้านการปฏิบัติการสอนโดยเ

การประเมินความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรมเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะของข้าราชการครู สาขาช่างอุตสาหกรรมของสถานศึกษากลุ่มภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  Title การประเมินความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรมเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะของข้าราชการครู สาขาช่างอุตสาหกรรมของสถานศึกษากลุ่มภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา Title Alternative Needs assessment of training for competency-based learning management of technical teachers in the central region under the jurisdiction of the office of vocational education commission Creator Name:   ดาวรุ่ง อินนอก Subject ThaSH:   การประเมินความต้องการจำเป็น ThaSH:   การศึกษาแบบสามัตถิยฐาน ThaSH:   ครู  --  ความต้องการการฝึกอบรม Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินการของผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าแผนก/หัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนในการฝึกอบรมการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ 2) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรมเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะของข้าราชการครู สาขาช่างอุตสาหกรรม สถานศึกษากลุ่มภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 ผู้อำนวยการ รองผู

URL : Blogger นศ.ป.โท 9/2 มหาวิทยาลัยธนบุรี - 11 กุมภาพันธ์ 2566

 https://www.blogger.com URL : Blogger นศ.ป.โท 9/2  มหาวิทยาลัยธนบุรี   - 11 กุมภาพันธ์ 2566 จตุพร เงินยัง https://jatupornnang.blogspot.com/ พัชราภรณ์ ฉะเพาะตน https://patcharaphon2723.blogspot.com/ ธิดารัตน์ ศรีวารีรัตน์ https://thidarat2023.blogspot.com/ มาลิษา สุขภูวงค์ https://malisa080336.blogspot.com/ ศุภักษร สุนทรวัฒน์ https://supagsornsuntornwatdaw1464.blogspot.com/ ไพโรจน์  เลิศกิจเจริญผล https://apairote.blogspot.com/ สายสุณีย์ ตะเภาทอง https://saisunee1994.blogspot.com/ ธิดาวรรณ   เสาแก้ว https://thidawan168.blogspot.com/ กลอยใจ ขันวงค์ https://kloyjaikhanwong.blogspot.com/ ณรงค์เดช เขม้นการนา https://narongdet-rst.blogspot.com/ จิระภา  ทอนศรี    https://jirapa128366.blogspot.com/ อรวรรณ ฮีสวัสดิ์ https://orawanhesawadi.blogspot.com/ พระสรภัค รามัญอุดม https://sorapuk.blogspot.com/ สุทิน พยนต์เลิศ https://sutin909.blogspot.com/ ทิพย์วรรณ บัวพล https://tippawan10506.blogspot.com/ สุนิสา วังทอง https://tansunisa21.blogspot.com/ นุชจรีย์ โยดี https://amnutchari.blogspot.com/ ม

แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต

 RED 7316 หัวข้อพิเศษทางนวัตกรรมการบริหารการศึกษา แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต นักศึกษาปริญญาโท นวัตกรรมการบริหารการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วันเสาร์ที่  12  มีนาคม 2564 เวลา 9.00-16.00 น. (พัก 15 นาที 10.30-10.45 น.) (พักรับประทานอาหารกลางวัน   12.00-13.00 น.) (พัก 15 นาที 14.40-14.55 น.) **** ช่วงบ่ายเลือกปัญหาในการบริหารการศึกษา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และแนวโน้มในอนาคต)  ***** แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต (10 คะแนน)  - กำหนดให้นักศึกษาทุกท่านเลือกปัญหาของการบริหารการศึกษา  1 เรื่อง  ส่งใน Chat - เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของการบริหารการศึกษา - เสนอนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาในมุมมองของผู้บริหาร - เสนอแนวโน้มในอนาคต ว่าปัญหาจะคงอยู่  จะลดลง หรือจะหมดไป  ให้ส่งเป็นไฟล์เอกสาร ระบุชื่อ-นามสกุล จำนวน 5 หน้ากระดาษ A4 ---------------------------------------------------------------------------------------- วิทยากร  ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข | ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ

Digital Literacy การรู้ดิจิทัล

 Digital Literacy การรู้ดิจิทัล

Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective

  Digital Literacy: A Palestinian Refugee Perspective Traxler, John Research in Learning Technology , v26 2018 This paper is the first attempt to explore digital literacy in the specific context of the Palestinian refugee community in the Middle East by looking at the cultural specificity of digital literacy theorising and practice, by analysing current digital education policy in the countries hosting the Palestinian refugee community and by documenting the digital environment of the Palestinian refugee. It identifies the distance or deficit between the community's current access to digital literacy education, appropriately defined, and its digital environment, needs and opportunities. Finally, the paper provides a brief agenda for further empirical research. Descriptors:  Technological Literacy ,  Refugees ,  Foreign Countries ,  Educational Policy ,  Theory Practice Relationship ,  Technology Education ,  Information Technology ,  Semitic Languages ,  Arabs ,  Muslims ,  Islamic